'ศรีศักรทัศน์' ในจดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพฯ
ศรีศักรทัศน์

'ศรีศักรทัศน์' ในจดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพฯ

 

 

จดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ จดหมายข่าวราย 3 เดือน มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ในการดำเนินงานของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับข่าวและความเคลื่อนไหวทางด้านสังคม วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ข้อมูลทางด้านโบราณคดีและศิลปวัฒนธรรมที่น่าสนใจ  เริ่มตีพิมพ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2539 จนถึง พ.ศ. 2561 รวม 22 ปี 120 ฉบับ  จากทั้งหมดมีบทความของอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ตีพิมพ์อยู่ทั้งสิ้น 111 บทความ ในฐานะที่ปรึกษามูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ประกอบไปด้วยเรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และทัศนะต่อสังคม  ดังนี้  

 

ฉบับที่ 1 กรกฎาคม-สิงหาคม 2539

  • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น (Local Museum) และการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน (Sustaimble Tourism)

ฉบับที่ 11 มีนาคม-เมษายน 2541

  • พม่ากับไทยใครจน?

ฉบับที่ 12 พฤษภาคม-มิถุนายน 2541

  • พระเครื่องกับลูกประคำ : ความต่างระหว่างไทยกับพม่าทางพุทธศาสนา

ฉบับที่ 13 กรกฎาคม-สิงหาคม 2541

  • เศรษฐกิจแบบเพียงพอกับเศรษฐกิจแบบไม่เพียงพอ

ฉบับที่ 14 กันยายน-ตุลาคม 2541

  • ข้อคิดจากเวียดนาม

ฉบับที่ 15 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2541

  • วัฒนธรรมย่อยในสังคมไทย

ฉบับที่ 16 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2542

  • ภาพอดีต

ฉบับที่ 17 มีนาคม-เมษายน 2542

  • ภายใต้ยุคมืด

ฉบับที่ 18 พฤษภาคม-มิถุนายน 2542

  • กองทุนชุมชน : จากกองทุนเป็นกองกระดูก

ฉบับที่ 19 กรกฎาคม-สิงหาคม 2542

  • อาการตายซากทางความคิด

ฉบับที่ 20 กันยายน-ตุลาคม 2542

  • เมื่อบ้านเมืองว่างพระศาสนา

ฉบับที่ 21 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2542

  • ภราดรภาพที่จันเสน

ฉบับที่ 22 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2543

  • ท้องถิ่นวัฒนา

ฉบับที่ 23 มีนาคม-เมษายน 2543

  • คนไทย : ไม่มีใครทำร้ายก็ตายเอง

ฉบับที่ 24 พฤษภาคม-มิถุนายน 2543

  • แม่มูนมั่นยืน : ม็อบหรือบางระจัน

ฉบับที่ 25 กรกฎาคม-สิงหาคม 2543

  • ขอเป็นที่ท่านไท้ทรงธรรม์

ฉบับที่ 26 กันยายน-ตุลาคม 2543

  • ตามโลกหรือทันโลก ทางเลือกในสังคมไทย

ฉบับที่ 27 พฤศจิกายน- ธันวาคม 2543

  • ทรพี ทรพา และเสือ ความหมายเชิงสัญลักษณ์ในสังคมไทย

ฉบับที่ 28 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2544

  • เวทีสาธารณะกับประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของประชาชน

ฉบับที่ 29 มีนาคม-เมษายน 2544

  • ผู้ใหญ่ที่จากไป

ฉบับที่ 30 พฤษภาคม-มิถุนายน 2544

  • การปฏิรูปที่น่ากลัว

ฉบับที่ 31 กรกฎาคม-สิงหาคม 2544

  • วัฒนธรรมถ่อย

ฉบับที่ 32 กันยายน-ตุลาคม 2544

  • จากมหาวิทยาลัยสุรนารีถึงภาพยนตร์เรื่องท้าวสุรนารี

ฉบับที่ 33 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2544

  • ความหมายของ “ชุมชน” และ “ท้องถิ่น” ที่ต้องทบทวน

ฉบับที่ 34 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2545

  • การฟื้นฟูชีวิตชาวบ้านที่ปากมูล (1)

ฉบับที่ 35 มีนาคม-เมษายน 2545

  • การฟื้นฟูชีวิตชาวบ้านที่ปากมูล (2)

ฉบับที่ 36 พฤษภาคม-มิถุนายน 2545

  • เห็นคำมากกว่าเห็นคน

ฉบับที่ 37 กรกฎาคม-สิงหาคม 2545

  • เมื่อนึกถึงกระทรวงวัฒนธรรม

ฉบับที่ 38 กันยายน-ตุลาคม 2545

  • มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกับประชาธิปไตยทางตรง

ฉบับที่ 39 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2545

  • จากนครวัดถึงพิษณุโลก

ฉบับที่ 40 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2546

  • วัฒนธรรมทุ่งกุลากับนาทาม

ฉบับที่ 41 มีนาคม-เมษายน 2546

  • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกับการเลื่อนไหลของความหมาย

ฉบับที่ 42 พฤษภาคม-มิถุนายน 2546

  • การวิจัยท้องถิ่นที่ควรเป็น

ฉบับที่ 43 กรกฎาคม-สิงหาคม 2546

  • พฤติกรรมวัยรุ่นกับความวิบัติทางสังคม

ฉบับที่ 44 กันยายน-ตุลาคม 2546

  • คนไทยมาจากทะเล : ญี่ปุ่นพูด ฝรั่งกระพือ คนไทยตาม

ฉบับที่ 45 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2546

  • เล็ก วิริยะพันธุ์ กับการขุดค้นทางปัญญา

ฉบับที่ 46 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2547

  • “เด็กเป็นศูนย์กลาง” วาทกรรมคำโตๆ ที่แสนกลวง

ฉบับที่ 47 มีนาคม-เมษายน 2547

  • ข้าฯ มา ข้าฯ เห็น ข้าฯ เข้าใจ : ปัตตานีกับความล้าหลังทางวัฒนธรรมที่ยังธำรงความเป็นมนุษย์

ฉบับที่ 48 พฤษภาคม-มิถุนายน 2547

  • การอ่านแผนที่กับการเรียนรู้นิเวศวัฒนธรรมของเด็กไทยในยุคปฏิรูปการศึกษา

 

ปีที่ 9 (ก่อนหน้านี้ไม่ระบุลำดับปีที่พิมพ์ในจดหมายข่าวฯ)

ฉบับที่ 49 กรกฎาคม-สิงหาคม 2547

  • ศาสนาของผู้ถูกกดขี่ (Religion of the oppressed)

ฉบับที่ 50 กันยายน-ตุลาคม 2547

  • รู้น้อยรู้มาก : เรื่องพระธาตุศรีสองรัก

ฉบับที่ 51 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2547

  • เมืองโบราณสยามประเทศ

ฉบับที่ 52 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2548

  • เสียงเพรียกจากตัวหนอนกรณีความเดือดร้อนในภาคใต้

ฉบับที่ 53 มีนาคม-เมษายน 2548

  • ธรรมชาติยาตราแม่น้ำชี : รุ่งอรุณแห่งการพัฒนาประสาหนอน

ฉบับที่ 54 พฤษภาคม-มิถุนายน 2548

  • เมื่อออกจากกระดอง

 

ปีที่ 10

ฉบับที่ 55 กรกฎาคม-สิงหาคม 2548

  • ความล้มเหลวของการปกครองท้องถิ่นกับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้

ฉบับที่ 56 กันยายน-ตุลาคม 2548

  • บารมีพระมากพ้นรำพัน : การลองกำลังระหว่างบารมีกับอำนาจในสังคมไทย

ฉบับที่ 57 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2548

  • การฟื้นฟูสังคมภาคใต้ในมิติเศรษฐกิจพอเพียง

ฉบับที่ 58 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2549

  • นิเวศวัฒนธรรมในหุบปัตตานีและหุบสายบุรี

ฉบับที่ 59 มีนาคม-เมษายน 2549

  • เมืองไทยเป็นสองเมืองหรือ? ปัญหาระหว่างประชาธิปไตยกับธรรมาธิปไตย

ฉบับที่ 60 พฤษภาคม-มิถุนายน 2549

  • 60 ปีของในหลวงกับ 100 ปีพุทธทาส

 

ปีที่ 11

ฉบับที่ 61 กรกฎาคม-สิงหาคม 2549

  • ไฟใต้ฤๅจะดับ

ฉบับที่ 62 กันยายน-ตุลาคม 2549

  • ไทย : สังคมบ้านแตกหรือสติแตก

ฉบับที่ 63 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2549

  • ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น : แนวคิดและวิธีการ

ฉบับที่ 64 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2550

  • เศรษฐกิจพอเพียงกับโครงสร้างสังคม

ฉบับที่ 65 มีนาคม-เมษายน 2550

  • เมืองไทยทูเดย์: ไม่มีพุทธแต่มีผีกับไสย

ฉบับที่ 66 พฤษภาคม-มิถุนายน 2550

  • โคตรวงศ์กับความเป็นไทย : กรณีตระกูลบุนนาค

 

ปีที่ 12

ฉบับที่ 67 กรกฎาคม-สิงหาคม 2550

  • ศาสนากับความมั่นคงทางสังคมของบ้านเมือง

ฉบับที่ 68 กันยายน-ตุลาคม 2550

  • พระพุทธบาทที่บัวเชดและช่องบาระแนะ

ฉบับที่ 69 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2550

  • ประวัติศาสตร์กับตำนาน

ฉบับที่ 70 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2551

  • โครงการผันน้ำโขง-ชี-มูล กรรมวิบัติของคนสยาม

ฉบับที่ 71 มีนาคม-เมษายน 2551

  • จากจักรพรรดิฝรั่งเศส-อังกฤษ ถึงจักรพรรดิอเมริกา : กระบวนการสนตะพายคนไทยสยาม

ฉบับที่ 72 พฤษภาคม-มิถุนายน 2551

  • ความสุขประชาชาติของคนภูฎานกับความทุกข์ประชาชาติของคนไทย

 

ปีที่ 13

ฉบับที่ 73 กรกฎาคม-สิงหาคม 2551

  • มรดก(รก)โลก กับ “คน” พระวิหาร

ฉบับที่ 74 กันยายน-ตุลาคม 2551

  • ม็อบมัฆวานฯ กับการสู้อย่างอหิงสา

ฉบับที่ 75 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2551

  • การเมืองใหม่ : การปฏิวัติหรือวิวัฒนา

ฉบับที่ 76 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2552

  • นิเวศเดรัจฉาน : การสร้างบ้านแปงเมืองในยุคโลกภิวัตน์

ฉบับที่ 77 มีนาคม-เมษายน 2552

  • บ้านครัว ดินแดง นางเลิ้ง : ชุมชนคนกรุงเทพฯ ที่มีอยู่

ฉบับที่ 78 พฤษภาคม-มิถุนายน 2552

  • การปลูกฝังทางวัฒนธรรม (Cultivation) : กระบวนการศึกษาทางสังคมที่ขาดไป

ฉบับที่ 79 กรกฎาคม-สิงหาคม 2552

  • ไทยคือทาสในยุคโลกาภิวัตน์

 

ปีที่ 14

ฉบับที่ 80 กันยายน-ตุลาคม 2552

  • ที่นี่ประเทศไทย “รัฐไร้สังคม”

ฉบับที่ 81 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552

  • จากกระรอกด่อนถึงปลาไหลเผือก ตำนานความวิบัติของบ้านเมือง

 

ปีที่ 15

ฉบับที่ 82 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2553

  • ต่อรองโลกาภิวัตน์ ต้านโลกาวิบัติ ต้องขจัดโลกียวิสัย

ฉบับที่ 83 มีนาคม-เมษายน 2553

  • “จากยศช้างขุนนางพระ ถึงยศพระขุนนางพ่อค้า” การเปลี่ยนแปลงสังคมวัฒนธรรมในรัชกาลพระภูมิพล

ฉบับที่ 84 พฤษภาคม-มิถุนายน 2553

  • รัฐใหม่หรือสังคมใหม่ การเปลี่ยนวิบัติให้เป็นโอกาสในกบฏเสื้อแดง

ฉบับที่ 85 กรกฎาคม-สิงหาคม 2553

  • เอ็มโอยู 43 กับมรดกโลก มรดกโลภ

ฉบับที่ 86 กันยายน-ตุลาคม 2553

  • คนไทยจะเป็นทาสในยุคอำมาตย์ไพร่

ฉบับที่ 87 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2553

  • เพื่อชาติภูมิ : สยามประเทศ

 

ปีที่ 16

ฉบับที่ 88 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2554

  • สยามพ่ายเพราะไทยถ่อย

ฉบับที่ 89 มีนาคม-เมษายน 2554

  • พาราสาวะถี ไม่มีใครปราณีใคร

ฉบับที่ 90 พฤษภาคม-มิถุนายน 2554

  • โรงเรียนชุมชน : โรงเรียนทางเลือกกับปฏิบัติการโหด

ฉบับที่ 91 กรกฎาคม-กันยายน 2554

  • ต้องสร้างพลังประชาสังคมต่อรองอำนาจรัฐและทุนเหนือรัฐเพื่อการอยู่รอดของสังคมไทย

ฉบับที่ 92 ตุลาคม-ธันวาคม 2554

  • การขาดสติทางวัฒนธรรม (Culture Shock) ในสังคมไทยหลังน้ำท่วมใหญ่

ฉบับที่ 93 มกราคม-มีนาคม 2555

  • ผู้มีบารมี-ผู้แพ้บารมี

ฉบับที่ 94 เมษายน-มิถุนายน 2555

  • อนิจจาสยามประเทศ : ร่ำรวยวัฒนธรรมเพื่อขายแต่ล้มละลายในชีวิตวัฒนธรรม

 

ปีที่ 17

ฉบับที่ 95 กรกฎาคม-กันยายน 2555

  • เหนือในหลวงยังมีพระแก้วมรกต

ฉบับที่ 96 ตุลาคม-ธันวาคม 2555

  • สิ้นศีล สิ้นแผ่นดิน สิ้นชาติ สิ้นมนุษย์ สยามาวสาน

ฉบับที่ 97 มกราคม-มีนาคม 2556

  • พื้นที่วัฒนธรรม : การโต้กลับทางภูมิปัญญาของคนใน

ฉบับที่ 98 เมษายน-มิถุนายน 2556

  • “ต่างชาตินิยม” หรือ “ชาตินิยม” การกล่าวหาเชิงวาทกรรมในสังคมไทย

 

ปีที่ 18

ฉบับที่ 99 กรกฎาคม-กันยายน 2556

  • AEC สัญญาณวิบัติประชาชาติ

ฉบับที่ 100 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

  • ประชาธิปไตยจากข้างล่าง

ฉบับที่ 101 มกราคม-มีนาคม 2557

  • “ธรรมาธรรมะสงคราม” กับ “ภควัทคีตา” อุทาหรณ์ในการต่อสู้ของมวลมหาประชาชน

ฉบับที่ 102 เมษายน-มิถุนายน 2557

  • “ประชาธิปไตยเมืองไทย” พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขหรือไอ้กันเป็นประมุข?

ฉบับที่ 103 กรกฎาคม-กันยายน 2557

  • ภูมิวัฒนธรรมกับการจัดการน้ำในภาคประชาชน : กรณีอยุธยาและสุโขทัย

ฉบับที่ 104 ตุลาคม-ธันวาคม 2557

  • โรงเรียนวัดกับการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 

ปีที่ 19

ฉบับที่ 105 มกราคม-มีนาคม 2558

  • สังคมมีศาสนา VS สังคมเดรัจฉาน

ฉบับที่ 106 เมษายน-มิถุนายน 2558

  • ความย่อยยับทางภูมิทัศน์วัฒนธรรมของเมืองประวัติศาสตร์กรุงเทพฯ ธนบุรี

ฉบับที่ 107 กรกฎาคม-กันยายน 2558

  • GDP VS GNH ในสังคมไทย

ฉบับที่ 108 ตุลาคม-ธันวาคม 2558

  • การขายวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวคือการขายความเป็นมนุษย์

 

ปีที่ 20

ฉบับที่ 109 มกราคม-มีนาคม 2559

  • “ภาวะล้มละลาย ความเป็นมนุษย์” ในสังคมไทย

ฉบับที่ 110 เมษายน-มิถุนายน 2559

  • ประเทศสยามวันนี้ : เมืองสองฝ่ายฟ้าระหว่างอเมริกากับจีน

ฉบับที่ 111 กรกฎาคม-กันยายน 2559

  • นิวกรุงเทพฯ นิวรัตนโกสินทร์ : การพัฒนาบ้านเมืองที่ไม่เห็นมนุษย์

ฉบับที่ 112 ตุลาคม-ธันวาคม 2559

  • ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงใช้แผนที่อย่างหนอน

 

ปีที่ 21

ฉบับที่ 113 มกราคม-มีนาคม 2560

  • ในหลวงรัชกาลที่ 9 กับการพัฒนาจาก “ข้างใน”

ฉบับที่ 114 เมษายน-มิถุนายน 2560

  • การศึกษาผลกระทบสภาพแวดล้อมทางสังคม ESIA (Environmental Social Impact Assessment) กับ การสร้างถนนขนาบน้ำเจ้าพระยา กรุงเทพฯ-นนทบุรี

ฉบับที่ 115 กรกฎาคม-กันยายน 2560

  • ยศพระขุนนางพ่อค้าในสังคมปัจจุบัน

ฉบับที่ 116 ตุลาคม-ธันวาคม 2560

  • ประวัติพระเมรุมาศ และพระโกศ เพื่อการถวายพระเพลิงพระบรมศพ

 

ปีที่ 22

ฉบับที่ 117 มกราคม-มีนาคม 2561

  • ประชาวิพากษ์ (Social Sanction)

ฉบับที่ 118 เมษายน-มิถุนายน 2561

  • วัฒนธรรมความยากจน

ฉบับที่ 119 กรกฎาคม-กันยายน 2561

  • เขาขุนน้ำนางนอน : ภูศักดิ์สิทธิ์ของแอ่งเชียงแสน

ฉบับที่ 120 ตุลาคม-ธันวาคม 2561

  • ก่อนจะเป็นเมืองโบราณและมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์

 

ผู้สนใจสามารถอ่านจดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ได้ทางออนไลน์ คลิก https://issuu.com/lekprapaifoundation/docs

 


เกสรบัว อุบลสรรค์

กองบรรณาธิการวารสารเมืองโบราณ