ภาพชุดศิลปะอโยธยา

รวมภาพชุดศิลปะอโยธยา โดย น. ณ ปากน้ำ ถ่ายภาพโดยไพฑูรย์ ทิณพงษ์ ตีพิมพ์ในวารสารเมืองโบราณปีที่ 11 ฉบับที่ 2

พ.ณ ประมวญมารค แปลกลอนเชกสเปียร์

หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี เจ้าของนามปากกา พ.ณ ประมวญมารค แปลกลอน (Sonnet) ของวิลเลียม เชกสเปียร์

“ตุง” ความหมายและความเชื่อ

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย เล่าเรื่องความหมายและความเชื่อของตุง เครื่องแขวนสำหรับถวายเป็นพุทธบูชา

ลายสักขาที่บ้านเชียง

การสักขาลายของผู้เฒ่าผู้แก่ชาวไทยพวน บ้านเชียง อุดรธานี บันทึกโดยณัฏฐภัทร นาวิกชีวิน เมื่อ พ.ศ. 2521

เครื่องปั้นดินเผาจาก “เตาบ้านเขียบ”

อาจารย์สงวน รอดบุญ พาผู้อ่านไปสำรวจเครื่องปั้นดินเผาจากแหล่งเตาบ้านเขียบ มหาสารคาม หนึ่งในแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่สำคัญของภาคอีสาน...

ขึ้น ‘เขาปลาร้า’ สำรวจภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์

การสำรวจแหล่งภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่ซ่อนตัวอยู่ในเพิงผาบนภูเขาปลาร้า จังหวัดอุทัยธานี โดยกองบรรณาธิการวารสารเมืองโบราณ...

ศิลปที่เมืองฟ้าแดดสูงยาง

ความงดงามของภาพจำหลักบนใบเสมาแห่งเมืองฟ้าแดดสูงยาง (ฟ้าแดดสงยาง) เมืองโบราณในวัฒนธรรมทวารวดีอีสาน ในทัศนะของ น. ณ ปากน้ำ

ปุจฉวิสัชน์ : อันเนื่องมาจาก ‘อูบมุง’

อูบ กะอูบ อูบมุงคืออะไร ? แล้วเกี่ยวข้องอย่างไรกับพระธาตุพนม ? ชวนอ่านข้อคิดเห็นของสงวน รอดบุญ ในคอลัมน์ปุจฉวิสัชน์

เค้าเงื่อนเรื่อง ‘พระแก้ว’ ที่ลำปาง?

เปิดประเด็น ชวนคิด ชวนสังเกตเกี่ยวกับพระแก้วมรกตรัตนพิมพ์ หรือพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร กับพระแก้วดอนเต้า เมืองลำปาง

ทางข้ามคอดกิ่วกระ (2)

เปิดหลักฐานเอกสารทัพเรือในสงครามไทยกับพม่าสมัย ร.1 และเส้นทางข้ามคาบสมุทรจากปากจั่น-ชุมพร ด้านเส้นทางผ่านบ้านรับร่อ โดย เยี่ยมยง ส....

ทางข้ามคอดกิ่วกระ (1)

สำรวจเส้นทางข้ามคอดกิ่วกระหรือคอคอดกระ ซึ่งเป็นทางสัญจรผ่านป่าเขาที่เชื่อมระหว่างชุมพร-กระบุรี สมัยก่อนตัดถนนเพชรเกษม โดย เยี่ยมยง...

น. ณ ปากน้ำ ดูจิตรกรรมวัดสามแก้ว

ตามรอยอาจารย์ น. ณ ปากน้ำ ดูจิตรกรรมอุโบสถวัดสามแก้ว จ.ชุมพร ฝีมือพระยาอนุศาสน์จิตรกร ช่างหลวงสมัยรัชกาลที่ 6

นครศรีธรรมราชกับประวัติศาสตร์ไทย

ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเมืองนครศรีธรรมราชในประวัติศาสตร์ไทยที่ปรากฏในหลักฐานเอกสารเอกสารต่างๆ

เสด็จประพาสต้นที่กำแพงเพชร

ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้านายที่ตามเสด็จ เมื่อคราวเสด็จประพาสต้น ร.ศ. 125

คนจีนกับชีวิตไทยๆ ในจิตรกรรม

จากภาพจิตรกรรมฝาผนังในวัดสำคัญหลายๆ แห่ง ปรากฏภาพกลุ่มคนจีนประกอบอยู่ในเรื่องราว สะท้อนถึงวิถีชีวิตและบทบาทที่มีต่อสังคมไทยในอดีต