ภาพชุดศิลปะอโยธยา
รวมภาพชุดศิลปะอโยธยา โดย น. ณ ปากน้ำ ถ่ายภาพโดยไพฑูรย์ ทิณพงษ์ ตีพิมพ์ในวารสารเมืองโบราณปีที่ 11 ฉบับที่ 2
พ.ณ ประมวญมารค แปลกลอนเชกสเปียร์
หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี เจ้าของนามปากกา พ.ณ ประมวญมารค แปลกลอน (Sonnet) ของวิลเลียม เชกสเปียร์
“ตุง” ความหมายและความเชื่อ
แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย เล่าเรื่องความหมายและความเชื่อของตุง เครื่องแขวนสำหรับถวายเป็นพุทธบูชา
ขนมมลายูในเทศกาลถือบวชที่ตลาดแขก นครศรีธรรมราช
สำรวจอาหารและขนมต่างๆ ในช่วงเดือนรอมฎอนที่ย่านตลาดแขก เมืองนครศรีธรรมราช
สงกรานต์
อาจารย์ ส. พลายน้อย เล่าเรื่องวันสงกรานต์ ตั้งแต่การกำหนดวันในปฏิทิน และประเพณีสงกรานต์ในวัฒนธรรมต่างๆ
ลายสักขาที่บ้านเชียง
การสักขาลายของผู้เฒ่าผู้แก่ชาวไทยพวน บ้านเชียง อุดรธานี บันทึกโดยณัฏฐภัทร นาวิกชีวิน เมื่อ พ.ศ. 2521
พิพิธเสวนา : Young... กลับบ้าน
สรุปพิพิธเสวนา “Young… กลับบ้าน” นำประสบการณ์ความรู้สู่มาตุภูมิ วันศุกร์ที่ 17 มีนาคม 2566
“เหนียวปลาแห้ง” ความรุ่มรวยจากทะเลสาบสงขลา
ชวนมาทำความรู้จัก “เหนียวปลาแห้ง” เมนูคู่บ้านชาวมุสลิมลุ่มทะเลสาบสงขลา
เครื่องปั้นดินเผาจาก “เตาบ้านเขียบ”
อาจารย์สงวน รอดบุญ พาผู้อ่านไปสำรวจเครื่องปั้นดินเผาจากแหล่งเตาบ้านเขียบ มหาสารคาม หนึ่งในแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่สำคัญของภาคอีสาน...
“จิ้งจัง” และ “เคยน้ำ” แห่งลุ่มเลสาบสงขลา
มาทำความรู้จัก “จิ้งจัง” และ “เคยน้ำ” อาหารถิ่นลุ่มเลสาบสงขลา ทำจากปลาตัวเล็กตัวน้อยนำมาหมัก ญาติใกล้ชิดกับ “บูดู” แห่งปลายด้ามขวาน...
ขึ้น ‘เขาปลาร้า’ สำรวจภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์
การสำรวจแหล่งภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่ซ่อนตัวอยู่ในเพิงผาบนภูเขาปลาร้า จังหวัดอุทัยธานี โดยกองบรรณาธิการวารสารเมืองโบราณ...
พลิกหน้าสารบัญ 48.4 เมืองแม่ต้าน
"เมืองแม่ต้าน" ชุมชนการค้าแห่งลุ่มน้ำเมย จากหลักฐานทางโบราณคดีถึงชีวิตวัฒนธรรมของผู้คนหลากหลายกลุ่ม
ชุมชนโบราณบ้านทะเมนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
สำรวจชุมชนโบราณบ้านทะเมนชัย เมืองโบราณในผังกลมรี เขตอำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
พระลาก ต้ม ลูกเห็ด : ในประเพณีงานบุญลากพระคนนคร
ร่วมสังเกตการณ์ประเพณีลากพระ ณ วัดจันทารามและวัดบูรณาราม อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช
พลิกหน้าสารบัญ 48.3 เมืองพะเยา-ภูกามยาว
พะเยาเป็นเมืองโบราณในลุ่มน้ำอิง นอกจากแง่มุมทางโบราณคดีแล้ว ประวัติศาสตร์สังคมเมืองพะเยา อันประกอบด้วยผู้คนหลากหลายกลุ่มก็น่าสนใจเช่นเดียวกัน...
สำรวจภาพเขียนสีที่ อ. น้ำโสม อุดรธานี
เด็กๆ บ้านนาเก็นเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ผ่านการสำรวจภาพเขียนสีที่เพิงผาบนเส้นทางข้ามเทือกเขาที่ อ. น้ำโสม อุดรธานี
ย้ายเมืองหรืออยู่ต่อ หากกรุงเทพฯ ต้องจมน้ำ?”
ร่วมวงเสวนาระดมความคิดเพื่อหาทางรับมือ วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน 2565 ณ ห้องประชุมริมน้ำ ชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์...
กรุงเทพฯ เมืองหลวง ปรับเปลี่ยนหรือโยกย้าย ?
ปาฐกถาพิเศษ โดย รศ.ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในงานเสวนา “ย้ายเมืองหรืออยู่ต่อ หากกรุงเทพฯ ต้องจมน้ำ?”
พลิกหน้าสารบัญ 48.2 : ฟ้าแดดสงยาง
ชมความงามของใบเสมา 'ฟ้าแดดสงยาง' ที่สุดของเสมาหินทวารวดีอีสาน และวิถีชีวิตวัฒนธรรมชาวกาฬสินธุ์
พลิกหน้าสารบัญ 48.1 : ร้อยเอ็ดหรือสาเกตนคร
สาเกตนครในตำนานอุรังคธาตุ เกลือบ่อพันขัน ข้าวทุ่งกุลา และหลากหลายเรื่องราวแห่งเมืองร้อยเอ็ด
พลิกหน้าสารบัญ 47.4 เมืองฝ้าย นครนอกกัมพุชเทศะ
เรื่องเด่นประจำเล่ม : โบราณคดีที่เมืองฝ้าย และหลายเรื่องราวในจังหวัดบุรีรัมย์
ศิลปที่เมืองฟ้าแดดสูงยาง
ความงดงามของภาพจำหลักบนใบเสมาแห่งเมืองฟ้าแดดสูงยาง (ฟ้าแดดสงยาง) เมืองโบราณในวัฒนธรรมทวารวดีอีสาน ในทัศนะของ น. ณ ปากน้ำ
‘ใบเสมา’ ร่องรอยความสำคัญของ “เมืองโสม” ในอดีต
สำรวจใบเสมาสมัยทวารวดีที่วัดป่าบ้านโคกสะอาด อำเภอน้ำโสม อุดรธานี
พลิกหน้าสารบัญ 47.3 สุรินทร์
ทำความรู้จักหลากหลายแง่มุมของกูยสุรินทร์ในวารสารเมืองโบราณฉบับล่าสุด “คูประทาย ปะทายสมันต์ ถึงสุรินทร์
กรณีภาพวาดแผนที่เมืองพิมาย
เพื่อความเข้าใจกรณีภาพวาดแผนที่เมืองพิมายที่ตีพิมพ์ในวารสารเมืองโบราณ 47.2 “วิมายปุระ-พิมาย”
พลิกหน้าสารบัญ 47.2 วิมายปุระ-พิมาย
'พิมาย' ไม่ได้มีแค่ปราสาทหินพิมายและผัดหมี่ หากแต่มีหลายเรื่องราวที่รอให้ค้นหา.. รู้จักเมืองพิมายหลายแง่มุมได้ในวารสารเมืองโบราณฉบับล่าสุด...
โปสเตอร์หนังเก่า มรดกความทรงจำโรงหนังที่ตะกั่วป่า
เปิดกรุของสะสมของป๋าสุรพล แซ่แต้ ช่างวาดภาพคัตเอาท์รุ่นเก๋า ย้อนรอยความทรงจำเมืองตะกั่วป่า ยุคเหมืองแร่ ผ่านโปสเตอร์หนังของ “โรงหนังกลั่นแก้ว”...
เที่ยวเมืองโบราณ
พา #เที่ยวทิพย์ ‘เมืองโบราณ’ บางปู ผ่านบทความของ อ. เสนอ นิลเดช ในวารสารเมืองโบราณปีแรก