ภูมิปัญญาไม้กวาดใยโหนด บ้านคันธง นครศรีธรรมราช

เรียนรู้ภูมิปัญญาวิถีโหนดผ่านการทำไม้กวาดใยโหนดของคนบ้านคันธง ตำบลปากนคร อำเภอเมือง นครศรีธรรมราช

ขนมมดกับพลพรรคที่ใกล้ชิด

ทำความรู้จักขนมมดและขนมชนิดอื่นๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน สะท้อนถึงวัฒนธรรมอาหารในท้องถิ่นภาคใต้ที่มีการถ่ายทอดและเปลี่ยนแปลง

“จิ้งจัง” และ “เคยน้ำ” แห่งลุ่มเลสาบสงขลา

มาทำความรู้จัก “จิ้งจัง” และ “เคยน้ำ” อาหารถิ่นลุ่มเลสาบสงขลา ทำจากปลาตัวเล็กตัวน้อยนำมาหมัก ญาติใกล้ชิดกับ “บูดู” แห่งปลายด้ามขวาน...

วิถีแห่งหมู่เล หมู่ทุ่ง และหมู่เหนือ

หนังสือรวมบทความในโครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้ เล่ม 2 พัทลุง โดยนักเรียนจาก 6 โรงเรียนในจังหวัดพัทลุง

กลุ่มคนแห่งสายน้ำ ผืนนา และป่าลุ่ม

หนังสือรวมบทความในโครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยนักเรียนจาก 7 โรงเรียนในพื้นที่นครศรีธรรมราช

'วัดสามแก้ว' ในนิราศของนาวาเอก หลวงสำรวจวิถีสมุทร

นาวาเอก หลวงสำรวจวิถีสมุทร (ฟุ้ง พร้อมสัมพันธ์) ถ่ายทอดความทรงจำถึงวัดสามแก้ว จังหวัดชุมพร ในรูปแบบนิราศ เมื่อครั้งไปร่วมงานทอดกฐิน...

'พ่อตาศรสุริวงศ์' สิ่งศักดิ์สิทธิ์แห่งบ้านปากหาด

เรื่องราวความศรัทธาใน 'พ่อตาศรสุริวงศ์' สิ่งศักดิ์สิทธิ์แห่งบ้านปากหาด หรือบ้านปากมหาด อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร

‘เสือใหญ่เมืองชุมพร’ ในนิทานโบราณคดี

เมื่อเสือร้ายออกมากัดกินผู้คนในเมืองชุมพร เรื่องเล่าจากปากคำชาวบ้านในพระนิพนธ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

พลิกพับบุด

สรุปเสวนา “พลิกพับบุด” หนังสือบุดสมุดข่อยโบราณ สมบัติชาติและมรดกทางภูมิปัญญาอันหาค่ามิได้ ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ

วัดประเดิม วัดเก่าเมืองชุมพร

เยี่ยมชมโบราณวัตถุสถานที่วัดประเดิมหรือวัดสุทธาวาสธาราม วัดโบราณใกล้คลองชุมพร ตำบลตากแดด อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร

ทางข้ามคอดกิ่วกระ (1)

สำรวจเส้นทางข้ามคอดกิ่วกระหรือคอคอดกระ ซึ่งเป็นทางสัญจรผ่านป่าเขาที่เชื่อมระหว่างชุมพร-กระบุรี สมัยก่อนตัดถนนเพชรเกษม โดย เยี่ยมยง...

"เมืองพระเวียง"และ"จันดีนคร" บนเส้นทางข้ามคาบสมุทร

ตามรอยหลักฐานเส้นทางที่เชื่อมระหว่างอารยธรรมโลกตะวันออกกับตะวันตก ในงานเสวนา "เมืองพระเวียง" และ "จันดีนคร" หลักฐานใหม่บนเส้นทางข้ามคาบสมุทร

พลิกหน้าสารบัญ วารสารเมืองโบราณ ฉบับ 45.3

พบกับหลากหลายเรื่องราวน่าสนใจด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์สังคมเมืองนครศรีธรรมราชในวารสารเมืองโบราณเล่มล่าสุด!

โรงเรียนภาษาอังกฤษที่ตะกั่วป่า สมัยรัชกาลที่ 5

เก็บตกประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองตะกั่วป่าจากเอกสารเก่า เมื่อครั้งหนึ่งเคยมีโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ 5

“โจ” เครื่องรางพิทักษ์ทรัพย์ของคนถิ่นใต้

ความเชื่อดั้งเดิมของผู้คนในท้องถิ่นภาคใต้ที่ใช้อำนาจเหนือธรรมชาติเป็นเครื่องมือในการจัดการทางสังคม