เปิดหน้าสารบัญ 50.1 บ้านสะแกกรัง เมืองอุไทยใหม่

พบกับหลากเรื่องราวของบ้านเมืองริมแม่น้ำสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี ในวารสารเมืองโบราณ ปีที่ 50 ฉบับที่ 1 "บ้านสะแกกรัง เมืองอุไทยใหม่"...

ตลาดบางลี่ที่จำได้

เมื่อก่อนตลาดบางลี่มีขนาดใหญ่และเจริญทัดเทียมกับตลาดในตัวจังหวัดสุพรรณบุรี... ชมภาพถ่ายเก่าตลาดบางซื่อ พร้อมคำบอกเล่าจากคนใน

ภูมิปัญญาไม้กวาดใยโหนด บ้านคันธง นครศรีธรรมราช

เรียนรู้ภูมิปัญญาวิถีโหนดผ่านการทำไม้กวาดใยโหนดของคนบ้านคันธง ตำบลปากนคร อำเภอเมือง นครศรีธรรมราช

ฝั่งธนฯ

บทบรรณาธิการเรื่อง “ฝั่งธนฯ” โดยอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ตีพิมพ์เผยแพร่ลงในวารสารเมืองโบราณ ปีที่ 43.4

การเปลี่ยนแปลงของวารสารเมืองโบราณ

บทบรรณาธิการโดยอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของวารสารเมืองโบราณตั้งแต่สมัยแรกจนถึงปัจจุบัน เผยแพร่ในวารสารเมืองโบราณ...

“ท่าสองยาง” อยู่ที่ไหน ?

ว่าด้วย “ท่าสองยาง” ที่ตั้งที่ว่าการกิ่งอำเภอท่าสองยางแต่เดิม ก่อนย้ายศูนย์กลางมายังตำบลแม่ต้าน และยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอท่าสองยางในปัจจุบัน...

วิถีแห่งหมู่เล หมู่ทุ่ง และหมู่เหนือ

หนังสือรวมบทความในโครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้ เล่ม 2 พัทลุง โดยนักเรียนจาก 6 โรงเรียนในจังหวัดพัทลุง

ภาพอดีต 'ตลาดมิ่งเมือง' แหล่งตัดเสื้อผ้าแบบด่วน ๆ

ชุดภาพถ่าย 'ตลาดมิ่งเมือง' แหล่งตัดเสื้อผ้าแบบด่วนทันใจในอาคารสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกที่สวยงามแปลกตา ก่อนถูกรื้อทิ้ง

กลุ่มคนแห่งสายน้ำ ผืนนา และป่าลุ่ม

หนังสือรวมบทความในโครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยนักเรียนจาก 7 โรงเรียนในพื้นที่นครศรีธรรมราช

‘เสือใหญ่เมืองชุมพร’ ในนิทานโบราณคดี

เมื่อเสือร้ายออกมากัดกินผู้คนในเมืองชุมพร เรื่องเล่าจากปากคำชาวบ้านในพระนิพนธ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

จากสวนลิ้นจี่ถึงทับหลัง มรดกวัฒนธรรมท้องถิ่น

ร่วมพูดคุยกับ ดร. ทนงศักดิ์ หาญวงษ์ และคุณพรทิพย์ เทียนทรัพย์ ในประเด็น 'จากสวนลิ้นจี่ถึงทับหลัง มรดกวัฒนธรรมท้องถิ่น'

ห้องสมุดเสาจินดารัตน์ คลังความรู้ท้องถิ่นลำปาง

แนะนำห้องสมุดในตึกเก่าบนถนนทิพย์ช้าง อำเภอเมืองลำปาง แหล่งรวบรวมหนังสือ เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับลำปางและท้องถิ่นภาคเหนือหลายแง่มุม...

เปิดตำราศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

แนะนำหนังสือของ รศ. สุภาภรณ์ จินดามณีโรจน์ และ รศ. ดร. ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ ที่ผู้สนใจศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นควรอ่าน

“บ้านเครื่องปั้นคลองสระบัว” เรื่องเล่าจากความทรงจำ

บ้านเครื่องปั้นดินเผาคลองสระบัว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รากเหง้าภูมิปัญญาที่สืบทอดยาวนานนับร้อยปี

โรงเรียนภาษาอังกฤษที่ตะกั่วป่า สมัยรัชกาลที่ 5

เก็บตกประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองตะกั่วป่าจากเอกสารเก่า เมื่อครั้งหนึ่งเคยมีโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ 5

5 หัวข้อวิจัยในงานเสวนาวิชาการ 65 ปี คณะโบราณคดี

ความเคลื่อนไหวในแวดวงประวัติศาสตร์และโบราณคดีในการประชุมวิชาการของคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วันที่ 11-12 กรกฎาคม 2562